มาลองค้นหาเรื่องแพลตฟอร์ม หรือ เครื่องมือการสร้างแอพพลิเคชั่น ในแบบ ที่เรียกกันว่า Low Code , No code โดยเราจะลองไปถามมาจาก Bing AI กันดูนะครับ

SamongTDTI : Tell me about the low code platform list ?

Bing AI :

นี่คือรายชื่อของเครื่องมือพัฒนาโค้ดแบบ Low-Code ที่ได้รับความนิยมในปี 2023:

  1. ServiceNow App Engine: เป็นเครื่องมือพัฒนาที่ให้ผู้ใช้สร้างแอปพลิเคชันได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่จำเป็นต้องมีทักษะการเขียนโค้ดที่ซับซ้อน 1.
  2. Visual LANSA: เป็นเครื่องมือพัฒนาโค้ดแบบ Low-Code ที่ให้ผู้ใช้สร้างแอปพลิเคชันได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องมีความชำนาญในการเขียนโค้ด 2.
  3. Feathery: เป็นเครื่องมือพัฒนาโค้ดแบบ Low-Code ที่ให้ผู้ใช้สร้างแอปพลิเคชันได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องมีทักษะการเขียนโค้ดที่ซับซ้อน 2.
  4. Zoho Creator: เป็นเครื่องมือพัฒนาโค้ดแบบ Low-Code ที่ให้ผู้ใช้สร้างแอปพลิเคชันได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องมีทักษะการเขียนโค้ดที่ซับซ้อน 2.
  5. The m-Power Development Platform: เป็นเครื่องมือพัฒนาโค้ดแบบ Low-Code ที่ให้ผู้ใช้สร้างแอปพลิเคชันได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องมีทักษะการเขียนโค้ดที่ซับซ้อน 2.

SamongTDTI : OK จะไปลองค้นหาดูอีกนิด เดี่บวมาถามใหม่นะ

SamongTDTI : Tell me about No code platforms

Bing AI : พี่บิง ให้ความเห็นว่า

No code หมายถึงระบบการออกแบบและสร้าง Software ได้โดยไม่จำเป็นจะต้องเป็นคนที่รู้ลึกทางด้านเทคนิคเลย และไม่ต้องแม้แต่จะเขียนโค้ดซัก 1 บรรทัด
แพลตฟอร์มนี้จะมีเครื่องมือมาให้ลากวาง ๆ รวมทั้งหน้าตาหน้าแสดงผลติดต่อกับผู้ใช้ที่สวยงาม ซึ่งก็เพื่อที่จะให้ได้งานออกมาเร็วๆ งัยละครับ
No code มันมีความสัมพันธ์ใกล้กับมากกับค่าย Low code แต่มันก็ไมาเหมือนกับพวก Low code เสียทีเดียว . No code คือ ไม่มี การโค้ดเลยแม้แต่บรรทัดเดียว แต่มันเป็นเทมเพลตที่มันถูกออกแบบไว้แล้ว เพื่อให้ผู้คนในแวดวงได้ใช้ในการสร้างแอพ ก็แค่นั้น

No-code development platforms are often used by companies seeking to digitize processes through cloud-based mobile applications. They are designed with line-of-business users in mind and help accelerate the development cycle by bypassing traditional IT development constraints. These platforms leverage enterprise-scale APIs, web service catalogs, open data sets, and tested template galleries to integrate existing business systems while adding a practical layer of user functionality.

การพัฒนาในแบบ No code มักจะถูกใช้ในงานในโอกาส หรือในบริษัท ที่กำลังขับเคลื่อนพัฒนากระบวนการไปบนเส้นทางของ “Cloude based mobile app” หรือ แอพมือถือที่ทำงานบน Cloud มันถูกออกแบบให้ถูกใช้โดยคนที่ต้องการเร่งให้ออกมาด่วนๆ ด้วยวัฎจักรพิเศษ โดยข้ามขั้นตอนการพัฒนาตามปกติของทีม IT
แพลตฟอร์มนี้มีการใช้งานพวก API web services ที่เลือกมาจากแคตะล็อกที่จัดไว้ให้ มี Open Data และเทมเพลตที่ได้รับการทดสอบแล้วว่าโอเค เพื่อให้มันทำงานร่วมกันได้กับสิ่งที่ธุรกิจนั้นมีอยู่แล้ว แล้วก็เพิ่มชั้นการทำงานทางธุรกิจ business flow เข้าไป

The potential benefits of using a no-code platform include: ประโยชน์ที่จะได้จากการใช้ No-code แพลตฟอร์ม

  • Access: No-code platforms increase the number of potential app creators from individuals with coding skills to anyone with internet access and functional business acumen. วิธีนี้จะช่วยเพิ่มจำนวนนักพัฒนา
  • Agility: No-code platforms provide templated user-interface and user experience functionality for common needs such as forms, workflows, and data display, allowing creators to expedite parts of the app creation process. คล่องตัวรวดเร็ว
  • Richness: No-code platforms offer a level of feature-richness and integrations that allow users to design, develop, and deploy apps that meet specific business needs. มี feature ให้เลือกมากมายตามใจชอบ
  • Automation: With the proliferation of low-code software tools and increased access to business APIs, workers can automate their current tasks using no-code development platforms. ทำงานได้ง่านอัตโนมัติ

For more information about no-code development platforms, you can refer to the following resources: คุณสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมได้จาก Links เหล่านี้

  1. Best No-Code Development Platforms in 2023
  2. No-code development platform – Wikipedia
  3. No-Code 101: A Complete Guide to No Code Development for 2023

I hope this helps! หวังว่าจะเป็นประโยชน์นะครับ แล้วผมจะมาแปลให้ฟังกันต่อไปว่า มันดีไม่ดี หรือมีคนใช้กันมากน้อยแค่ไหน

Views: 87