Month: September 2023

What is the EA exactly means ?

What is the EA exactly means ?

Enterprise Architecture (EA) คือการบรูณาการ IT เข้ากับ business อย่างเป็นระบบตั้งแต่ในระดับ architecture ไปจนถึง roadmap ขององค์กร เพื่อขับดันให้องค์กรสามารถดำเนินการตามนโยบายและ business visions ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ12. การทำ EA ช่วยให้องค์กรสามารถมองเห็นภาพรวมขององค์กรได้ และทำให้การพัฒนาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ34. ถ้าคุณต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ EA สามารถศึกษาได้จากหลักสูตร EA แห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย134. “Enterprise Architecture (EA) is the process of translating business vision and strategy into effective enterprise change by creating, communicating and improving the key principles and models that describe the enterprise’s […]

Continue Reading

EP2. My consciousness Explorer

EP2. My consciousness Explorer

รูปที่ 1 แสดงการออกแบบโครงสร้างลังบ้าน ว่า ผู้ใช้จะต้องสามารถทำอะไรได้บ้าง ส่วนจะใช้มันหรือไม่ก็ไม่เป็นไร แต่หากจะต้องมาทำทีหลังก็หนักพอๆ กันเราจึงออกแบบมันก่อนล่วงหน้า ในรูป ผู้ใช้จะสามารถกรอก และที่สำคัญเราจะออกแบบเพิ่มมากขึ้นมากว่านี้ และเมื่อผู้ใช้กรอกข้อมูลเข้าไปมาก ก็จะเป็น Big data เท่าที่จะต้องการจะแบ่งปัน หรือเก็บเป็นความลับส่วนบุคคล รูปที่ 2 คือ ส่วนการแสดงผลหน้าบ้าน ที่ผู้ใช้จะสามารถเข้าไปใช้งานได้ เลือกมาวางได้ และเลือกใช้จากแพลตฟอร์มต่างๆ ในรูป ตัวอย่างจะมี ฟังก์ชั่น ที่เลือกใช้ เช่นการเงิน บันทึกประจำวัน อาหารการกิน การพัฒนาตนเอง และชอปปิ้งออนไลน์เป็นต้น รุปที่ 2 กับรูปที่ 1 คล้ายกัน แต่วิธีการเข้าถึงในรูปที่ 2 คือ Front end ก็จะง่ายกว่า จากหน้านี้ไป ผู้ใช้ก็จะท่องโลกดิจิทัลแพลตฟอร์มต่างๆ ได้ และนี่คือ หน้าเพจเฉพาะของผู้ใช้แต่ละคนที่ไม่เหมือน ใคร ขยายเพิ่มเติมต่อไปได้ หน้าจอแรก Login และเข้าสู่ระบบ รูปที่ […]

Continue Reading

Enlighten Platform : แพลตฟอร์ม ตาสว่าง ตื่นรู้

Enlighten Platform : แพลตฟอร์ม ตาสว่าง ตื่นรู้

Feature สำคัญ Enlighten แก้ไขปัญหาอะไร Enlighten เหมาะสำหรับ นักวิจัยกับ Enlighten นักวิจัยสามารถใช้ enlighten สำหรับการ ค่าธรรมเนียมในการใช้บริการ Enlighten Enlighten เปิดให้บริการโดย โครงการ สมองซิตี้ บริหารงานโดย บริษัท สมอง (ไทยแลนด์) จำกัด Views: 27

Continue Reading

What Are Low-Code/No-Code Platforms?

What Are Low-Code/No-Code Platforms?

Richard Hay | Oct 20, 2021 Low-code/no-code แพลตฟอร์ม เป็นเครื่องมือแบบกราฟฟิก ใช้กันมากโดยผู้ใช้แนวนักธุรกิจและนักพัฒนาแอพพลิเคชั่น เพื่อสร้างแอพพลิเคชั่นและระบบงานอัตโนมัติโดยอาศัยการลากวาง ๆ เจ้าตัวฟังก์ชั่นต่างๆ โดยใช้ความรู้เรื่องภาษาการเขียนโค้ดเพียงเล็กน้อย หรือไม่ต้องใช้เลยก็สามารถทำการสร้างแอพฯ ได้ Low-code/no-code แพลตฟอร์ม จะปรับตัวเข้ากับระบบบริการคลาวด์หรือผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ก่อนแล้ว เพื่อการใช้งานโดยหน่วยงานเพื่อปรับให้เข้ากับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่แล้ว ด้วยวิธีการนี้จะเป็นการทำให้นักพัฒนาระดับพลเมืองทั่วไปจะทำการสร้างแอพพลิเคชั่นขึ้นมาโดยไม่ต้องอาศัยนักพัฒนาตามแบบแผนดั้งเดิม หรือตามขั้นตอนวงจรการพัฒนาแอพพลิเคชั่น ในบทความที่แปลมานี้ เขาได้นำเราไปสำรวจว่า Low-code/no-code แพลตฟอร์มต่างๆ นั้น มีข้อดีข้อเสียอย่างไร ซึ่งแต่ละแพลตฟอร์ม ก็มีออพชั่นต่างๆ ให้เลือกใช้แตกต่างกันไป What Are Low-Code/No-Code Development Platforms? แล้วพวกแพลตฟอร์ม Low-code/no-code เหล่านี้คืออะไรกันแน่ ? บรรดาความสามารถต่างๆ ของ Low-code/no-code เหล่านี้ได้ถูกปลดปล่อยออกมาอย่างกว้างขวางโดยบริษัทนักพัฒนาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรายเล็กๆ ที่ต้องการจะตอบโจทย์ความต้องการเฉพาะอย่าง (niches) ไปจนถึงรายใหญ่ๆ ที่ให้บริการกันระดับองค์กร ก็ออกแพลตฟอร์ม Low-code/no-code มาเช่นกัน ผู้เขียนบทความได้ทำการศึกษาและอธิบายถึง Low-code/no-code ที่มีอยู่ใน  Microsoft, Google และ Amazon มาก่อนหน้านี้แล้ว […]

Continue Reading

Low code & No code List

Low code & No code List

No-code development platforms are software design systems that even non-technical people can use to create applications without writing a single line of code12. These platforms provide drag-and-drop tools and graphical user interfaces to expedite the application development process1. They are closely related to low-code development platforms, but unlike low-code platforms, no-code platforms require no code writing at […]

Continue Reading

EA : Enterprise Architecture กับ ความจริงที่ท้าทาย

EA : Enterprise Architecture กับ ความจริงที่ท้าทาย

ที่มา : https://www.tech.gov.sg/media/technews/doubling-down-on-cloud-to-deliver-better-government-services Enterprise Architecture สิงค์โปร์กำลังพยายามทุ่มเทขับเคลื่อนคอนเซ็พ “Cloud-first” เพื่อที่จะช่วยให้มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่นต่างๆเพื่อให้บริการประชาชนให้มากขึ้น ในปี 2018, รัฐบาลได้ประกาศแผนระยะ 5 ปี เพื่อทำการเคลื่อนย้ายระบบ IT จากระบบ On-premise ไปสู่ระบบ Cloud เพื่อจะช่วยให้สามารถพัฒนาระบบให้บริการและการทำธุรกิจได้ดียิ่งขึ้น. นับตั้งแต่ตอนนั้นมา ก็ได้มีการเคลื่อนย้ายระบบที่ถือว่าสำคัญ “restructed” เข้าไปสู่ระบบ cloud. ในปีนี้ได้มีการลงทุนเพิ่มมากขึ้นกว่า 870 ล้านเหรียญ เพื่อกระตุ้นแผนการดังกล่าว หนึ่งในผลประประโยชน์ของระบบ cloud คือ การที่จะสามารถเชื่อมต่อระบบนิเวศไปยังเครือข่ายพันธมิตร รวมไปถึงผู้ใช้งานและนักพัฒนาเข้ากับหน่วยงานตัวแทนของรัฐบาล การดำเนินการดังกล่าวจะทำให้รัฐบาลสามารถพัฒนาระบบให้บริการแก่ประชาชนได้รวดเร็วยิ่งขึ้น หน่วยงานของรัฐจะสามารถพัฒนาและทดสอบระบบต่างๆ ได้ง่ายและรวดเร็วในแบบ real-time ซึงจะช่วยยกระดับคุณภาพการบริการและความรวดเร็วในการให้บริการต่อธุรกิจต่างๆ ด้วยระบบความปลอดภัย การบริการของรัฐ และการทำงานบนระบบ cloud จะช่วยให้สามารถพัฒนาระบบความปลอดภัยเข้าไปสู่ระบบการพัฒนาทาง IT ด้วยวิธีการนี้จะช่วยให้ธุรกิจก้าวมาสู่ระบบมากขึ้นและเป็นดีต่อระบบการจัดเก็บภาษี จุดเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือการเคลื่อนย้ายจากการพัฒนาในแบบ monolithic ไปสู่ระบบ microservices-การใช้ฟังก์ชั่นความสามารถบริการ แทนทีการให้บริการเพียงจุดเดียว เพื่อเหตุผลในการรองรับการขยายตัว ความคล่องตัวและเสถียรภาพ เมื่อระบบสมบูรณ์เต็มที่ ระบบภาษีจะเชื่อมโยงเข้ากับระบบบัญชีของธุรกิจได้ในทันที […]

Continue Reading

“อุตสาหกรรมดิจิทัล” ไทยเติบโต แต่จำเป็นต้องเร่งพัฒนาบุคลากร

“อุตสาหกรรมดิจิทัล” ไทยเติบโต แต่จำเป็นต้องเร่งพัฒนาบุคลากร

ขอบคุณที่มา : https://www.bangkokbiznews.com/tech/gadget/1029836 “สถาบันไอเอ็มซี” สำรวจอุตสาหกรรมดิจิทัลประเทศไทยให้กับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลหรือ ดีป้า (depa) เริ่มจากการสำรวจอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และขยายมาเป็นอุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ รวมถึงอุตสาหกรรมบริการดิจิทัลที่เป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ “สถาบันไอเอ็มซี” สำรวจอุตสาหกรรมดิจิทัลประเทศไทยให้กับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลหรือ ดีป้า (depa) ต่อเนื่องมาเป็นเวลาหลายปี เริ่มจากการสำรวจอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และขยายมาเป็นอุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ รวมถึงอุตสาหกรรมบริการดิจิทัลที่เป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ ทั้งสั่งซื้อสินค้า ดูหนังฟังเพลง และส่งอาหาร วิธีสำรวจข้อมูลอุตสาหกรรมเหล่านี้ ทีมผู้สำรวจค้นหาข้อมูลรายได้บริษัทต่างๆ ที่จดทะเบียนในหมวดธุรกิจภายใต้อุตสาหกรรมดิจิทัล รวมถึงนำตัวเลขนำเข้าสินค้าอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาคำนวณมูลค่าอุตสาหกรรม รวมถึงสำรวจข้อมูลจำนวนจ้างงานที่อยู่ในระบบประกันสังคมบริษัทต่างๆ เพื่อประมาณการจำนวนบุคลากรในอุตสาหกรรม นอกเหนือจากอุตสาหกรรมทั้งสามที่ทีมไอเอ็มซีได้สำรวจแล้ว ดีป้ายังให้หน่วยงานอื่นสำรวจมูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ ขณะที่ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)ได้สำรวจมูลค่าอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคม ซึ่งหากนำมูลค่าอุตสาหกรรมทั้ง 5 ด้านมารวมกัน จะพบว่า ช่วงปี 2564 อุตสาหกรรมดิจิทัลบ้านเรามีมูลค่าสูงถึง 1.58 ล้านล้านบาท ขยายตัว 14.33% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา สะท้อนอัตราการเติบโตมาก และอาจสวนทางกับหลายๆ อุตสาหกรรมที่ชะลอตัวในช่วงสองปีที่ผ่านมาเนื่องจากสถานการณ์โควิด ตัวเลขมูลค่าอุตสาหกรรมทำให้เห็นได้ว่า ประเทศไทยมีการใช้ดิจิทัลกันอย่างมากและอุตสาหกรรมโตขึ้นทุกภาคส่วน ทั้งการใช้ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ โทรคมนาคม […]

Continue Reading

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งมด
Manage Consent Preferences
  • Always Active

บันทึก